ความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ตำบลเบญจขร อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว

Main Article Content

ปรีชญา รุ่งวิกรัยกานต์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเพิ่มรายได้ของประชาชนในชุมชนระดับรากหญ้า ชาวบ้านตำบลเบญจขกร อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ชาวบ้านตำบลเบญจขกร อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้วที่เข้าร่วมโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก จำนวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและรายได้ให้กับคนในชุมชน
ฐานราก ตำบลเบญจขร อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว จำนวน 44 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง กลุ่มอายุ 35-49 ปี อาชีพเจ้าของธุรกิจหรือผู้ประกอบการอิสระ โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในภาพรวมของกิจกรรมของโครงการในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการอำนวยความสะดวกประสานงาน และการให้บริการของเจ้าหน้าที่ การสนับสนุนด้านการฝึกอาชีพหรือพัฒนาทักษะที่ได้รับจากโครงการฯ และด้านรูปแบบการจัดงานและกิจกรรม ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าโครงการนี้มีความสำเร็จสูงในการสร้างความพึงพอใจและตอบสนองความต้องการของผู้เข้าร่วมโครงการในชุมชน

Article Details

How to Cite
รุ่งวิกรัยกานต์ ป. . (2024). ความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ให้กับคนในชุมชนฐานราก ตำบลเบญจขร อำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว. วารสารการจัดการและการพัฒนาท้องถิ่น, 7(2). สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/jMLD/article/view/1349
บท
บทความวิจัย

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2564). แผนพัฒนาชุมชน. กระทรวงมหาดไทย. https://district.cdd.go.th/kochan/wp-content/uploads/sites/111/2021/05/แผนชุมชน.pdf

ทวิช แจ่มจำรัส. (2566). การประเมินโครงการการจัดการชั้นเรียนตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนบ้านหมี่วิทยา จังหวัดลพบุรี. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 8(4), 64-78.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิจัยการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พัฒนา พรหมณี, ยุพินพิทยาวัฒนชัย, & จีระศักดิ์ ทัพผา. (2563). แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 26(1), 1-20. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/apheit-ss/article/view/241557/164592

พงษ์ศักดิ์ ทรัพย์ศิลาทอง. (2567). การประเมินผลโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลเขาสวนกวาง อำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน, 9(2), 717-723.

รมย์ พะโยม. (2557). การประเมินโครงการการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 2. The Golden Teak: Humanity and Social Science Journal, 20(3), 7-19.

ศิริวัฒน์ แสงฉวี, วิพักตร์ จินตนา, & ดำรง พิพัฒนวัฒนากุล. (2556). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการพัฒนาชุมชนต้นน้ำ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา, 13(1), 204-213. https://www.thaiscience.info/journals/Article/TJOF/10978170.pdf

ศุภามณ จันทร์สกุล. (2557). ยุคสมัยของการประเมินผลและแนวคิดทฤษฎีของนักประเมิน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 8(1), 79-95.

สุพรรณิการ์ เรืองศรี, กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2564). การประเมินผลโครงการพัฒนาสังคมชุมชนบนพื้นที่สูงตามแนวพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 29(1), 251-293.

สุพิชชา โตวิวิช, ชินศักดิ์ ตันดิกุล, อดิศร ศรีเสาวนันท์, ปาริฉัตร พรมสวัสดิ์. (2564). การศึกษาเพื่อการออกแบบและประเมินความพึงพอใจในการพัฒนาศักยภาพธุรกิจตลาดชุมชนภายใต้โครงการ “ตลาดต้องชม: คลองบางหลวง.” Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS), 18(2), 139-154.

เสาวคนธ์ เชื้อผู้ดี, พัชรา วงศ์แสงเทียน. (2563). ความพึงพอใจในการบริหารจัดการชุมชนแบบพึ่งตนเองตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสมาชิกในชุมชนบ่อทอง ตำบลบ่อทอง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(1), 1-13.

อัญชิสา หัดจุมพล, เฉลิมขวัญ สิงห์วี. (2567). การมีส่วนร่วมในชุมชน ความพึงพอใจต่อที่อยู่อาศัย และคุณภาพชีวิตของหัวหน้าครัวเรือนในโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลองลาดพร้าว เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 7(5), 72-86.

World Health Organization. (n.d.). Quality of life and health promotion. World Health Organization. https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/health-promotion

Dusit Poll. (2021). การสำรวจความพึงพอใจในงาน [Survey on job satisfaction]. Dusit University. Retrieved December 20, 2024, from https://dusitpoll.dusit.ac.th/KB/2021/601/