GUIDELINES FOR IMPROVE ELDERLY’S QUALITY OF LIFE TO PEOPLE INTELLECTUAL REPOSITORY
Keywords:
การพัฒนาคุณภาพชีวิต, การถ่ายทอดคลังปัญญา, ผู้สูงอายุกับการถ่ายทอดคลังปัญญาAbstract
This research aims to: 1) examine the characteristics of quality-of-life development for the elderly in the transmission of community knowledge, 2) analyze patterns of quality-of-life improvement for seniors involved in sharing communal wisdom, and 3) propose approaches for enhancing the quality of life of the elderly in passing down this knowledge. The study utilized a mixed methodology, combining quantitative research through questionnaires distributed to a sample of 55 elderly participants from Chiang Rai, and qualitative research through in-depth interviews with 22 key informants related to the study.
The research findings are as follows:
1) The study of the quality-of-life development characteristics for the elderly in knowledge transmission revealed that this approach highlights the importance of raising awareness and valuing the transmission of knowledge to ensure it is preserved for future generations.
2) The analysis of quality-of-life improvement patterns for seniors in knowledge transmission found that the elderly placed the highest importance on the significance of passing down communal wisdom. This was reflected in an overall average score of 4.50 with a standard deviation of 0.53, showing a strong emphasis on this aspect.
3) In presenting approaches to enhance quality of life for seniors involved in knowledge transmission, the research highlighted the importance of thorough preparation for those transferring knowledge. This includes providing background information, materials, tools, beliefs, uses, and the cultural significance of local wisdom.
References
จิรภา วิลาวรรณ (2565). “ผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและป้องกัน ภาวะซึมเศร้า เชิงสังคมและวัฒนธรรมในกลุ่มผู้สูงอายุตำบลนาฝาย อำเภอเมืองจังหวัดชัยภูมิ”. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. 15 (1) (มกราคม – เมษายน)
ธันยาภรณ์ โพธิกาวิน. (2553). กระบวนการเรียนรู้และการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านดนตรีประเภทขลุ่ยและแคน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี . วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (พัฒนศึกษา) นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประหยัด พิมพา. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุ ในเขตตรวจราชการที่ 10. หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง กระทรวงศึกษาธิการ (นบส.ศธ.3). สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา. สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.
พระมหาเรื่องเดช ศรีประสม (ถาวรธมโม) (2553). ศูนย์การเรียนรู้: การพัฒนารูปแบบเพื่อบริการชุมชน ของวัดในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วรเวศม์ สุวรรณระดา และรักชนก คชานุบาล (2557). การขับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคม. กรุงเทพมหานคร: วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีจันทรัตน์ กันทะวัง. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภูมิปัญญาท้องถิ่นตามแนวการสอนเชิงประสบการณ์ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา. ดุษฏีนิพนธ์ ดบ. (ศึกษาศาสตร์). สุโขทัย : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต. (2555). แบบสำรวจความสุขด้วยตนเอง HAPPINOMETE ความสุขวัดเองก็ได้. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิรินุช ฉายแสง. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ในจังหวัดอำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต (การสร้างเสริมสุขภาพ). มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุภรัชต์ อินทรเทพ. (2561). รูปแบบการพัฒนาการถ่ายทอดภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดำรงชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสำหรับครัวเรือนในชุมชน จังหวัดสระแก้ว. ดบ. (สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา) ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.
Additional Files
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Journal of Modern Buddhist Studies

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.