สูงวัยอย่างสร้างสรรค์ แก่ชราอย่างมีความสุข
คำสำคัญ:
สูงวัย, มีคุณค่า, แก่ชรา, มีความสุขบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผู้สูงอายุโดยที่สูงวัยอย่างสร้างสรรค์ แก่ชราอย่างมีความสุข ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อสังคมและประเทศชาติ เพราะเป็นผู้เพียบพร้อม ไปด้วยความรู้ประสบการณ์ โดยทำให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างมีความสุข สุขทั้งใจและสุขทั้งกาย การให้ผู้สูงอายุมีความสุขมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยอาศัยพัฒนาสุขภาพในด้านร่างกาย และจิตใจการให้ความสำคัญกับสุขภาพ การบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ การพักผ่อนให้เพียงพอ การออกกำลังกายเป็นประจำเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง อารมณ์มี ซึ่งการสูงวัยอย่างมีคุณค่า แก่ชราอย่างมีความสุขยึดหลัก สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง สุขสงบ ผู้สูงอายุก้าวทันโลกสมัยใหม่และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามยุคตามสมัย แบบค่อยเป็นค่อยไป ทำให้เกิดการเรียบรู้สิ่งใหม่ ๆ
References
วิธีดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ให้สดใสร่าเริง ห่างไกลจากโรคซึมเศร้า (2567). [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://www.thairath.co.th.
ภาวะสูงวัยของประชากร. สถาบันวิจัยประชาการและสังคม มหาวิทยาลัยมหาดล (2567). [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://ipsr.mahidol.ac.th/research-cluster/population-aging/.
สุจริต สุวรรณชีพ, (2554) ความสุข 5 มิติ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในผู้สูงอายุ, สำนักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.
หมอชาวบ้าน สสส.แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีสุข(2567). [ออนไลน์] แหล่งที่มา :: https://empowerliving.doctor.or.th/case/172).
อัญชลี จุมพจามีกร (2567). คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล อยู่อย่างไรให้เป็นสุขในวัยสูงอายุ. [ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://www.rama.mahidol.ac.th.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.