การวิเคราะห์การสืบสานอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ของชาวมอญกระทุ่มมืด

ผู้แต่ง

  • พระครูสมุห์อานนท์ อานนฺโท วัดลาดหลวง จังหวัดนครปฐม
  • พระใบฎีกาแสงธรรม สุปญฺโญ วัดศรีมงคล จังหวัดเชียงราย

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์, วัฒนธรรม, ชาวมอญกระทุ่มมืด

บทคัดย่อ

งานวิจัย “การวิเคราะห์การสืบสานอัตลักษณ์วัฒนธรรมของชาวมอญกระทุ่มมืด” มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการสืบสานอัตลักษณ์มอญในพื้นที่ และ 2) เพื่อวิเคราะห์กระบวนการสืบสานดังกล่าว การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา การตีความ และการสังเคราะห์ พร้อมเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาในบริบทผลการวิจัยพบว่า การสืบสานอัตลักษณ์ด้านศาสนา ชาวมอญกระทุ่มมืดมีความเชื่อในการสร้างเจดีย์และบูชาพระเจดีย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์อนุสรณ์ของพระพุทธเจ้า พุทธศาสนิกชนไม่ได้บูชาเฉพาะวัสดุ แต่ให้ความสำคัญกับพระคุณของพระพุทธองค์ สถานที่หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเจดีย์และพระพุทธรูปจึงถูกมองว่าเป็นสิ่งดีงาม วัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิต พิธีกรรมรำผี เป็นกระบวนการถ่ายทอดทางสังคมที่เกิดจากความเห็นพ้องร่วมกัน โดยได้รับการสืบทอดต่อเนื่องในชุมชน คติการปลูกบ้าน การปลูกบ้านของชาวมอญมีเกณฑ์และโฉลกที่ยึดถือจากประเพณีดั้งเดิม พิธีกรรมทางศาสนาการบูชาและสักการะตามธรรมเนียม ซึ่งสะท้อนคติความเชื่อที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ทำให้เห็นถึงการรักษาอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชาวมอญผ่านกิจกรรมและความเชื่อที่ผสานอยู่ในวิถีชีวิตประจำวัน

References

กนกพร กระจ่างแสง (2561). “การดำรงลักษณ์ทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมมอญกระทุ่มมืด อำเภอไทร

น้อย ตำบลไทรใหญ่. จังหวัดนนทบุรี: ภาคปฏิบัติการทางวาทกรรมสู่ความยั่งยืนของชุมชน”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(28). (พฤษภาคม –สิงหาคม): 12

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย (2565). โครงสร้างครอบครัว. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.sac.or.th/databases/ethnic-groups/ethnicGroups/133

ณัฐพล ธรรมสมบัติ. (2557). “การสื่อสารแบรนด์เพื่อสร้างอัตลักษณ์ของบุรุษในโฆษณา ผลิตภัณฑ์บำรุง

ผิวหน้าชาย กรณีศึกษา แบรนด์นีเวีย”. การค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ทวี ธีระวงฆ์เสรี (2517). สถานภาพทางกฎหมายของชาวจีนในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

บ้านจอมยุทธ (2565). พิธีทำบุญเลี้ยงพระ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.baanjomyut.com/pratripidok/ceremony/12.html

บ้านเมือง (2565). สมานาค 'โม่น-มอญรามัญ' ...สิ้นแผ่นดิน แต่วัฒนธรรมไม่เคยสูญสิ้น... [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.banmuang.co.th/news/education/156649

บุญยงค์ เกศเทศ (2562). มอญซ่อนสยาม: ความผูกพันกับสยามในลุ่มน้ำเจ้าพระยาและท่าจีน. มหาสารคาม: กากเยีย.

แปลก สนธิรักษ์ (มปป.). “พิธีกรรมและประเพณี”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

พระพุฒินันทน์ รํสิโย (2562). “การวิเคราะห์อัตลักษณ์ของชุมชนลาวครั่งตามหลักพระพุทธศาสนาในจังหวัดนครปฐม”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.

พลังจิต (2565). พระทิ้งบาตร ธุดงควัตรแห่ง..."พระมอญกระทุ่มมืด". [ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล: https://palungjit.org/threads/

พิศาล บุญผูก (2565). ชุนชนมอญในประเทศไทย มอญกระทุ่มมืด จ.นครปฐม. [ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล: http://www.openbase.in.th/node/9802

รายงานพิเศษกองบรรณาธิการ (2544). “โดนคุณไสยปางตาย เดรัจฉานวิชา เสี้ยนหนามพระศาสนา”. อาทิตย์. 23 (1153) (มกราคม): 19.

รายงานพิเศษศิลปวัฒนธรรม (2546). “บวชนาค ต้องทำขวัญนาค : ประเพณีของนาคอุษาคเณย์ที่ไม่มีใน

อินเดียลังกา”. ศิลปวัฒนธรรม. 24 (8) (มิถุนายน): 72.

ศรีศักร วัลลิโภดม (2534). สยามประเทศ : ภูมิหลังของประเทศไทยตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ จนถึงสมัยกรุง

ศรีอยุธยาราชอาณาจักรสยาม. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพิฆเณศ พริ้นท์ติ้งเซนเตอร์.

สรัชชา เวชพฤติ (2539). “เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม การติดต่อทางวัฒนธรรมและกระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมในชุมชนมอญ ตำบลทรงคะนอง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ”.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภรณ์ โอเจริญ (2541). มอญในเมืองไทย, โครงการหนังสือชุด “ประเทศเพื่อนบ้านของไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุวิทย์ ทองศรีเกตุ (2524). “การศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ที่มีต่อพฤติกรรมทางศาสนาของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล.

เสฐียร โกเศศ (2524). การศึกษาประเพณีไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

อรสา เงินฉาย (2550). “การศึกษาสภาพวัฒนธรรมของชุมชนชาวมอญเกาะเกร็ดอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี”. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Charles F. Keyes (1997). “Ethnic groups, ethnicity”, in The Dictionary of Anthropology.

Oxford: Blackwell Publishers.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2022-06-30

How to Cite

พระครูสมุห์อานนท์ อานนฺโท, & พระใบฎีกาแสงธรรม สุปญฺโญ. (2022). การวิเคราะห์การสืบสานอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ของชาวมอญกระทุ่มมืด. วารสาร นวพุทธศาสตร์, 1(1), 25–39. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/jMBS/article/view/1375