รูปแบบผู้นำสตรีในองค์กรเชิงพุทธ

ผู้แต่ง

  • ศุภกริช สามารถกุล วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม

คำสำคัญ:

รูปแบบ, ผู้นำสตรี, องค์กรเชิงพุทธ

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาบทบาทของสตรีในองค์กรเชิงพุทธมีความสำคัญเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในยุคปัจจุบัน ทั้งในด้านการเผยแผ่ธรรมะ การบริหารจัดการองค์กร และการสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนา โดยการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนา ช่วยสร้างจริยธรรมในการบริหาร ผู้นำสตรีในองค์กรพุทธต้องพัฒนาทักษะการสื่อสาร วางแผนเชิงกลยุทธ์ และสร้างเครือข่าย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ภาวะผู้นำสตรีแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของปัจจัยส่วนบุคคล การเป็นแบบอย่างที่ดี คุณลักษณะที่ช่วยขับเคลื่อนองค์กรให้ประสบความสำเร็จ ผู้นำสตรีในองค์กรพุทธจึงต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี โดยอาศัยการพัฒนาเชิงวิชาการและการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการบริหารงาน

References

บุษยา วีรกุล, ภาวะผู้นำ (2558). กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ฉลาดชาย รมิตานนท์ (2545). สตรีศึกษา. เชียงใหม่: ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ และมูลนิธิผู้หญิงกฎหมาย และการพัฒนาชนบท.

กุหลาบ สายประดิษฐ์ (2524). กำเนิดครอบครัวของมนุษยชาติ ระเบียบสังคมของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: กอไผ.

จามะรี เชียงทอง (2563). “แนวคิดสตรีนิยมจากมุมมองและประสบการณ์ของอาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์”. วารสารจุดยืน. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน).

วิเชียร วิทยอุดม (2550). ภาวะผู้นำ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

รัตติกรณ์ จงวิศาล(2559). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัมมา รธนิธย์(2556). ภาวะผู้นำของผู้บริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.

บุษยา วีรกุล (2558). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: โครงการส่งเสริมและพัฒนาเอกสารวิชาการ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

มัทนา วังถนอมศักดิ์ (2558). “สตรีกับการเป็นผู้นำ”. การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มกราคม – มิถุนายน).

Bernard M. Bass (1981). Stogdill’s handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: The Free Press.

Courtland L. Bovee and others (1993). Management New York: McGraw-Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

สามารถกุล ศ. (2024). รูปแบบผู้นำสตรีในองค์กรเชิงพุทธ. วารสาร นวพุทธศาสตร์, 3(2), 67–76. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/jMBS/article/view/1327