การศึกษาประสิทธิผลของการบังคับใช้พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
คำสำคัญ:
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น , พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพ.ศ. 2559 , ประสิทธิผลการบังคับใช้กฎหมาย , ความพึงพอใจบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบังคับใช้พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของวัยรุ่นและเยาวชนต่อผลการใช้มาตรการตามพระราชบัญญัติฯ เป็นวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้ 100 คน และวัยรุ่นและเยาวชน 100 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามออนไลน์ ได้แก่ 1) ผู้ปฏิบัติจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้พระราชบัญญัติฯ 2) ความพึงพอใจของวัยรุ่นและเยาวชนต่อประโยชน์ที่ได้รับจากพระราชบัญญัติฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า กลไกที่อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดและรองลงมา ได้แก่ กฎกระทรวงสามารถเป็นแนวทางให้หน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นได้ชัดเจนขึ้น (X̅= 4.30) และกลไกด้านผู้บริหารที่ให้ความสำคัญในการดำเนินการ
ตามกฎหมาย (X̅= 4.29) ด้านมาตรการคุ้มครองสิทธิที่อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดคือและรองลงมาคือ การช่วยให้วัยรุ่นได้ฝึกอาชีพระหว่างตั้งครรภ์รวมทั้งการจัดหาครอบครัวทดแทนในกรณีที่แม่วัยรุ่นไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ (X̅= 4.29) และความร่วมมือระหว่างราชการส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา สถานบริการ สถานประกอบกิจการ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของเอกชน ในการส่งต่อให้วัยรุ่นได้รับความช่วยเหลือ (X̅= 4.22) วัยรุ่นและเยาวชนมีความพึงพอใจมากที่สุดต่อประโยชน์ที่ได้รับจากช่องทางสื่อสารความรู้ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ (X̅ = 4.30) และกลไกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่มีการช่วยเหลือวัยรุ่นที่ประสบปัญหาให้ได้รับสวัสดิการสังคม (X̅ = 4.28) ข้อเสนอแนะครั้งนี้คือ เพิ่มการสนับสนุนด้านงบประมาณ สนับสนุนการสร้างเครือข่ายสภาเด็กและเยาวชนในการเฝ้าระวังปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
References
Alavi-Arjas, F., Farnam, F., Granmayeh, M., & Haghani, H. (2018). The effect of sexual and
reproductive health education on knowledge and self-efficacy of school counselors.
Journal of Adolescent Health, 63(5), 615-620. Retrieved March 12, 2024, from
https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1054139X18302180
Ananpatiwet, S., Nungalee, S., & Phattarasatjatum, P. (2018). Unwanted teenage pregnancy:
Impact, trends, and help in a boundless global society. Journal of Nursing and
Education, 11(1), 16-31.
Bureau of Reproductive Health. (2017). National strategy for preventing and solving the
problem of teenage pregnancy 2017-2026 according to The Act on Prevention and
Solution to the Adolescent Pregnancy Problem B.E. 2559 (2nd printing). Bangkok:
Printing House, Thepphen Wanich.
Bureau of Reproductive Health. (2019). Research and evaluation of the project to drive
forward Teenage Pregnancy Prevention and Solutions Act B.E. 2559 (2016) in the year
Retrieved September 30, 2024, from
https://planning.anamai.moph.go.th/th/meeting01/download?did=7610&id=26199&lan
g=th&mid=29777&mkey=m_document&utm_source=chatgpt.com
Bureau of Reproductive Health. (2022). Teenage pregnancy prevention and solutions act B.E.
(2016). 2nd printing. Printing House, Kaew Chao Chom Media and Printing Center, Suan Sunandha Rajabhat University.
Department of Health. (2023). Reproductive health situation in adolescence and youth year
Retrieved September 2, 2024, from https://rh.anamai.moph.go.th/th/cms-of-1/download/?did=214353&id=115658&reload=
Natrujirote, W. (2017). Mobilizing process for teen pregnancy prevention. Journal of Social
Sciences, Srinakharinwirot University, 20. Retrieved October 2, from file:///C:/Users/PC/Downloads/9514-Article%20Text-25168-28115-10-20171215.pdf
Shaw, D. (2009). Access to sexual and reproductive health for young people: Bridging the
disconnect between rights and reality. International Journal of Gynecology &
Obstetrics, 106(2), 132-136. Retrieved March 3, 2024, from https://doi.org/10.1016/j.ijgo.2009.03.025
Suwanwanich, M. (2016). Teenage pregnancy and adverse birth outcomes at Ratchaburi
Hospital. Medical Journal, 35(3), 150-157. Retrieved October 2, from https://he02.tci-
thaijo.org/index.php/reg45/article/view/124965/94745
Tangdee, O., Sara, N., & Choosat, P. (2024). Evaluation of preventive implementation and
probing the teenage pregnancy problems of District Health Board: DHB. Retrieved
September 30, 2024, from https://rh.anamai.moph.go.th/th/academic-
portfolio/download/?did=1
UNICEF. (2021). Adolescent health and rights in Southeast Asia. Retrieved October 3, 2024,
from https://www.unicef.org/thailand/topics/adolescent-health-and-
development?items_=&page=1
Yajai, S., Suwannarat, W., Nongnueang, W., Pasuhirun, S., Jaidee, C., & Limcharoen, S. (2020).
Mobilization of the Act for Prevention and Solution of the Adolescent Pregnancy
Problem, B.E. 2559 (2016) through local collaborations in Chanthaburi Province. Regional
Health Promotion Center 9 Journal, 14(33), 35-51.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
Copyright (c) 2025 วารสารสังคมศึกษาปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.