การส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลในเด็กปฐมวัยโดยมีผู้ปกครองเป็นสื่อกลางในการใช้ ชุดกิจกรรม “เล่นกับลูกฝึกการคิด” สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดกำแพงเพชร

ผู้แต่ง

  • อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
  • อัฐณีญา สัจจะพัฒนกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

คำสำคัญ:

ผู้ปกครอง, เด็กปฐมวัย, ความฉลาดทางดิจิทัล

บทคัดย่อ

       การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้ปกครองในการส่งเสริมความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของเด็กปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรม “เล่นกับลูกฝึกการคิด” ใน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการสร้างปฏิสัมพันธ์กับบุตรหลาน 2) ด้านการจัดนิเวศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการพัฒนาความฉลาดรู้ทางดิจิทัลให้กับบุตร และ 3) ด้านการสนับสนุนการเล่นเพื่อส่งเสริมการคิด กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ปกครองของเด็กชั้นอนุบาล  ปีที่ 2 และ 3 จำนวน 30 คน ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านพรานกระต่าย อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร ผลการวิจัยพบว่า ผู้ปกครองสามารถนำชุดกิจกรรม “เล่นกับลูกฝึกการคิด” ไปใช้ส่งเสริมความฉลาดรู้ทางดิจิทัลให้กับบุตรหลานได้ โดยชุดกิจกรรม“เล่นกับลูกฝึกการคิด” ประกอบไปด้วย 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวงล้ออารมณ์, กิจกรรมสิทธิของหนู, กิจกรรมศิลปะจิ้มจุ่ม, กิจกรรมเขาวงกต, กิจกรรมบ้านจำลอง และกิจกรรม Food for Pet กิจกรรมทั้งหมดเป็นเครื่องมือในการช่วยส่งเสริมให้ผู้ปกครอง  มีแนวทางในการส่งเสริมความฉลาดรู้ทางดิจิทัลผ่านการเล่นอย่างสร้างสรรค์ ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ภายในบ้าน  และสร้างเวลาคุณภาพระหว่างบุตรหลานกับผู้ปกครองในครอบครัว   

 

References

Child Media. (2020). DQ Digital Intelligence. [Online]. Retrieved July 7, 2023, from http://cclickthailand.com/wp-content/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf

Dejputtawat, W. and Others. (2020). Relationship between the Age Onset and Characteristics of Electronic Media Using and Developmental Delay in Children Age 6 Months – 5 Years Old. Journal of Nakornping Hospital, 11(2), 1-19.

DQ Institute (2018). DQ Impact Report. Retrieved from: https://www.dqinstitute.org/

wpcontent/uploads/2018/08/2018-DQ-Impact-Report.pdf.

Hibbs, P. and Kulapichitr, U., (2016). Roles of Parental Mediation for Promoting Media Literacy of Preschoolers in Child Development Centers in The Bangkok Metropolis. An Online Journal of Education. Vol. 11 No. 1 (2016), pp.18-29

Jaroensa, T., & Sengsri, S. (2020). Digital Intelligence Quotient and Creativity and Innovation Skills in 21st Century. Journal for Research and Innovation, Institute of Vocational Education Bangkok, 3(2). Retrieved July 7, 2023, from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/245251

Lertkhongkhathip, R., Kerdto, K., Youjamnong, P., Chansoong, T., & Saythong, U., (2022). The Study of Using the Process for Enhancing the Quality of Education by Coaching and Mentoring System for Small Schools under the Office of Primary Education, District 2, Uttaradit Province. Interdisciplinary Academic and Research Journal, 2 (6), pp. 59-76

Pantuworakul, K. and Nuansri, M., (2019). Young Children as Digital Citizens: Opportunity or Risk. Journal of Education Studies. Vol. 47 No. SUPPL. 2 (2019), pp. 1 - 23

Rajanukul Institute. (2016). A Manual for Organizing Activities to Strengthen Emotional Bonds for Parents or Caregivers of Children Ages 5 and Up through The Process of "Eat, Hug, Play, Tell". (2nd Printing). Bangkok: Agricultural Cooperatives Association of Thailand Printing Company Limited.

Rajanukul Institute. (2021). Let's strengthen children's IQ and EQ through eating, hugging, playing, and telling stories from your baby's first steps. Retrieved July 10, 2023, from https://th.rajanukul.go.th/academic/leaflet-data/leaflet/leaflet2/110

Sajjaphattanakul, A., & Sajjaphattanakul, A. (2019). Participatory action research to develop a learning network: “Media, information, and digital literacy citizenship school” in the lower northern region of Thailand: A needs analysis of schools from early childhood to lower secondary education levels. Proceedings of the 11th National Research Conference: Connecting Local Research to International Perspectives, Nakhon Ratchasima Rajabhat University, 1028–1038.

UNESCO. (2018). A Global Framework of Reference on Digital Literacy Skills for Indicator 4.4.2. Retrieved July 10, 2023, from https://uis.unesco.org/sites/default/files/documents/ip51-global-framework-reference-digital-literacy-skills-2018-en.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-12-2024

How to Cite

สัจจะพัฒนกุล อ., & สัจจะพัฒนกุล อ. (2024). การส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัลในเด็กปฐมวัยโดยมีผู้ปกครองเป็นสื่อกลางในการใช้ ชุดกิจกรรม “เล่นกับลูกฝึกการคิด” สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารสังคมศึกษาปริทรรศน์, 1(1), 1–15. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/J_SSR/article/view/1059