คอพพีลีค เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์สร้างสรรค์การตรวจสอบการคัดลอก ผลงานทางวิชาการ เสริมสร้างทักษะการเคารพเขาเคารพเราบนโลกดิจิทัล
คำสำคัญ:
คอพพีลีค, การคัดลอกผลงานทางวิชาการ, การเคารพเขาเคารพเราบนโลกดิจิทัลบทคัดย่อ
คอพพีลีค เป็นเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการ โดยสามารถวิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อความจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ บนโลกออนไลน์ โดยสามารถคัดกรอง การลอกเลียนผลงานข้อความทั้งหมดที่เป็นหน้ากระดาษหรือทั้งย่อหน้า และการคัดกรองการลอกเลียนแหล่งที่มาในลักษณะโค้ด ภาษาในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ รวมทั้งการคัดลอกข้อความที่มาจากการประมวลผลของปัญญาประดิษฐ์ ดังนั้น คอพพีลีคจึงช่วยเสริมสร้างทักษะการเคารพสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาใน นักวิชาการ นักเรียน นิสิต และนักศึกษา ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของเนื้อหาได้อย่างแม่นยำและรวดเร็ว การนำ คอพพีลีค มาใช้ในการศึกษาและงานวิจัยไม่เพียงแต่ช่วยในการป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ยังเสริมสร้างจริยธรรมทางวิชาการที่เคารพซึ่งกันและกันในชุมชนวิชาการบนโลกดิจิทัล
References
กุลวดี ปุณทริกโกทก. (2561). การอ้างอิงผลงานทางวิชาการ. วารสารกฎหมายมหาวิทยาลัยมหิดล. 1(1), 18 – 19.
กฤตติพัฒน์ ชื่นพิทยาวุฒิ. (2566). ความก้าวหน้าของ ChatGPT และการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์การประยุกต์ใช้ประโยชน์ ความเสี่ยง และประเด็นทางจริยธรรมในการวิจัย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. (29)2, 154 - 173.
วิศรุจน์ เมืองปลื้ม และ วิชุดา กิจธรธรรม. (2560). ปัจจัยเชิงเหตุด้านจิตสังคมและผลด้านความภาคภูมิใจในผลงานวิชาการของการมีพฤติกรรมป้องกันการคัดลอกผลงานวิชาการของบัณฑิตศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. (9)1, 193 - 210.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2563). CopyLeaks โปรแกรมออนไลน์เพื่อตรวจสอบการคัดลอกผลงานเขียน. สืบค้น 1 กันยายน 2567, จาก https://www.nstda.or.th/home/
knowledge_post/copyleaks-plagiarism-checker/
อุทิศ บำรุงชีพ. (2566). นวัตกรรมสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้สู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัล. ชลบุรี: ชลบุรีการพิมพ์.
AcademicHelp. (2024). Copyleaks vs Turnitin. Retrieved October 2, 2024, from https://academichelp.net/plagiarism-checkers/copyleaks-vs-turnitin.html
CopyLeaks. (2024). Balancing AI technological advancement with integrity, transparency, and ethics. Retrieved October 12, 2024, from https://copyleaks.com/
Ng'andu, Kasonde & Hambulo, Farrelli & Haambokoma, Nicholas & Milingo, Tomaida. (2013). The Contribution of Behavioral Theories of Learning to Education.Zambia Journal of Education. 4(1), 58 – 74.
Saleem, Amna & Kausar, Huma & Deeba, Farah. (2021). Social Constructivism: A New Paradigm in Teaching and Learning Environment. PERENNIAL JOURNAL OF HISTORY. 2(2), 403 - 421.
Shkodkina, Yuliia & Pakauskas, Darius. (2017). Comparative Analysis of Plagiarism Detection Systems. Business Ethics and Leadership. 1(3), 27 - 35.
SI-UK. (2024). Plagiarism. Retrieved September 2, 2024, from https://www.siuk-thailand.com/study-guide/guidance-plagiarism-students/
Turnitin. (2017). plagiarism. Retrieved November 4, 2024, from ttps://www.plagiarism.org/article/what-is-plagiarism
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.