สถูปเจดีย์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา

ผู้แต่ง

  • วรท ฤทธิ์มะหันต์ เทศบาลตำบลวังหว้า

คำสำคัญ:

รูปแบบ, สถูป, สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาสถูปเจดีย์ในพระพุทธศาสนาเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาและวัฒนธรรมที่สะท้อนความศรัทธาและคติความเชื่อสืบทอดมาแต่โบราณ ในสมัยสุโขทัย คำว่า “สถูป” และ “เจดีย์” ถูกใช้ควบคู่กัน หมายถึงสิ่งก่อสร้างที่บรรจุอัฐิธาตุของบุคคลสำคัญ พระเจ้ายอดเชียงรายทรงสร้างสถูปเพื่อบรรจุพระอัฐิของพระเจ้าติโลกราช ในอินเดีย สถูปเริ่มต้นจากเนินดินบรรจุอัฐิธาตุ พัฒนาเป็นศาสนสถานสำคัญ ท่านสร้างมหาสถูปแห่งนาลันทา พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่งเสริมการสร้างสถูปเพื่อเป็นพุทธบูชา ทรงสร้างสถูปสาญจีและศิลาบัลลังก์ต่าง ๆ การแพร่ขยายของพระพุทธศาสนาทำให้รูปแบบสถูปได้รับอิทธิพลจากศิลปะอินเดีย ศรีลังกา และพม่า จนกลายเป็นศิลปะเฉพาะถิ่นในไทยตั้งแต่ยุคทวารวดี สุโขทัย อยุธยา ถึงรัตนโกสินทร์ เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์และศิลปกรรมที่ทรงคุณค่า ช่วยเปิดเผยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการผสมผสานศิลปะและคติความเชื่ออันหลากหลาย

References

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (2545). ตำนานพระพุทธเจดีย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

พระครูโสภณปริยัติสุธี (ศรีบรรดร ธีรธมฺโม) (2550). ทฤษฎีรัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 2. พะเยา: โรงพิมพ์เจริญอักษร.

พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโ (2567), “เจดีย์ในพระพุทธศาสนา”. บทความวิชาการ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.mcu.ac.th/article/detail/503.

สันติ เล็กสุขุม (2567). “เจดีย์ทรงระฆัง-ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์-ทรงปรางค์ มาจากไหน อย่างไร”. วารสารศิลปวัฒนธรรม, [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://shorturl.asia/imHeC.

หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล (2522). ศิลปะอินเดีย. นครปฐม: แผนกบริการกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล (2535). ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000. กรุงเทพมหานคร: บริษัท

รุ่งแสงการพิมพ์ จำกัด.

สมชาย สิริประเสริฐศิลป์ (2529). การศึกษารูปแบบสถูปเจดีย์ในสมัยรัชกาลที่ 4. สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (2556). พุทธศิลป์สมัยรัตนโกสินทร์ พัฒนาการของงานช่างและแนวคิดที่ปรับเปลี่ยน. กรุงเทพมหานคร: เมืองโบราณ.

ศักดิ์ชัย สายสิงห์ (2560). เจดีย์ในประเทศไทย: รูปแบบ พัฒนาการและพลังศรัทธา. นนทบุรี: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.

น. ณ ปากนํ้า (2529) ความเป็นมาของสถูปเจดีย์ในสยามประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์พลชัย.

นิดดา หงส์วิวัฒน์ และคณะ (2555). พระพุทธรูปและเทวรูป: ศิลปะทวารวดี ศิลปะทักษิณ และศิลปะร่วมแบบเขมร. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

ธนธร กิตติกานต์ (2557). มหาธาตุ. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

Adrian Snodgrass (2537). The Symbolism of the Stupa. แปลโดย ภัทรพร สิริกาญจน และคณะ. สัญลักษณ์แห่งพระสถูป. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธนธร กิตติกานต์ (2557). มหาธาตุ. กรุงเทพมหานคร: มติชน.

Benjamin Rowland. The Art and Architecture of India Buddhist. Hindu and Jain Methuen. penguin Books L.td., 1970.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-30

How to Cite

ฤทธิ์มะหันต์ ว. (2024). สถูปเจดีย์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนา. วารสาร นวพุทธศาสตร์, 3(2), 46–55. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/jMBS/article/view/1335