อปริหานิยธรรม 7 หลักความสามัคคี

Main Article Content

พนม คงกลิ่น

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า ความสามัคคีตามแนววิถีพุทธเป็นทิศทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานการใช้ชีวิตในปัจจุบัน โดยยึดหลัก“อปริหานิยธรรม ๗ หลักความสามัคคี ” ได้แก่ การประชุมพบปะปรึกษาหารือกันในกิจการงานต่าง ๆ อย่าง สม่ำเสมอ เพื่อแก้ปัญหาในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ยอมรับในเหตุผลที่ถูกต้อง ที่เป็นประโยชน์สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน และหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน การประชุมกันบ่อย ๆ คุยกันบ่อย ๆ นั้น เป็นการระดมมันสมอง รวมความสามารถที่ทุกคนมีแล้วนำมาแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาในหมู่คณะให้มีความเจริญในด้านต่าง ๆ และทำกิจที่ได้รับมอบหมายตามมติที่ประชุมอย่างพร้อมเพรียงกัน เพื่อสร้างความรับผิดชอบร่วมกันป้องกันไม่ให้เกิดการกินแหนงแคลงใจกัน ต้องให้ความสำคัญกับการประชุม ต้องทำงานของส่วนรวมให้ดี การตรงต่อเวลาเป็นการเสียสละและเป็นการแสดงน้ำใจเห็นอกเห็นใจผู้อื่นให้ความสำคัญของคำว่าทีม จะต้องถือปฏิบัติมั่นตามหลักการเดิมของหมู่คณะทำตามกฎระเบียบตามกติกาข้อบังคับ ตามหลักเกณฑ์ของหมู่คณะ เพื่อความเสมอภาคกัน จึงเป็นเป้าหมายของการพัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนา

Article Details

How to Cite
คงกลิ่น พ. (2025). อปริหานิยธรรม 7 หลักความสามัคคี. วารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์, 2(2), 110–121. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/NVKS/article/view/962
บท
บทความวิชาการ

References

พระครูปลัดไพฑูรย์เมธิโก (มหาบุญ), “อปริหานิยธรรม : สันติภาพสู่สังคมไทย”กระแสวัฒนธรรม, ฉบับที่ ๑๖

ฉบับที่ ๒๙ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๕๘) : ๗๗ – ๗๘

พระมหายุทธพิชัย (สิริชโย) ธิติวุฒิ หมั่นมี, การบริหารงานตามหลักอปหานิยธรรม ,วารสารสมาคมศิษย์เก่า

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑) :

๑๔๑-๑๔๓.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๓๙.

ทิพวรรณ พฤฒากรณ์, (๑๕ พ.ค.๒๕๖๒) “การเสริมสร้างความสามัคคีในสังคมไทย” วารสารวิชาการ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, [ออนไลน์], ๒ (๓): ๑๖ หน้า,

แหล่งที่มา:https://so02.tci-thaijo.org › article ›, [๑๓ สิงหาคม๒๕๖๓].

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ,พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ,พิมพ์ครั้งที่ ๑๑,

(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หน้า ๑๐๖-๑๐๗.

กัลยาณมิตร ธรรมะ,อปริหานิยธรรม ๗ หลักการทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ ๗ ประการ ,[ออนไลน์],

แหล่งที่มา :https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=15410,[๑๓ สิงหาคม๒๕๖๓].

พลเรือโท สุรภักดิ์ ธาราจันทร์,เพียรพร้อมเพรียงกันเพื่อชาติมั่นคง, [ออนไลน์] , แหล่งที่มา :

http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/strategy.html,

[๒๖ สิงหาคม ๖๕].