การศึกษาความเข้มแข็งของกลุ่มตลาดเกษตรกรตัวจริงทุกสิ่งปลอดภัย จังหวัดมหาสารคาม
บทคัดย่อ
การศึกษาความเข้มแข็งของกลุ่มตลาดเกษตรกรตัวจริงทุกสิ่งปลอดภัย จังหวัดมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์การศึกษา การจัดการกลุ่มสู่ความเข้มแข็ง และการขยายเครือข่าย เพื่อพัฒนาและส่งเสริม การดำเนินงานของกลุ่มแบบมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของสมาชิก และแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะอาชีพระหว่างสมาชิกอย่างสม่ำเสมอ จากการสังเคราะห์เอกสารแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน พบว่า ภาพรวมการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และหลักการสหกรณ์ ด้วยการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม การเลือกคณะกรรมการกลุ่ม การออกความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็น เพื่อการพัฒนาสมาชิกกลุ่ม และแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะอาชีพระหว่างสมาชิกอย่างสม่ำเสมอ
References
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2540). แผนพัฒนาการส่งเสริมการเกษตร ปี 2540-2544. กรุงเทพมหานคร
กรมส่งเสริมสหกรณ์. (2557). อุดมการณ์ หลักการสหกรณ์ และวิธีการสหกรณ์. กลุ่มเผยแพร่และ
ประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร
กรมส่งเสริมสหกรณ์. (2559). สารสนเทศกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในประเทศไทย ปี 2559.
กลุ่มฐานข้อมูลสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2542). กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา. สำนักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สำนักความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ.(2556). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การพัฒนาที่ยั่งยืน. บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารการวิจัยและพัฒนา กรมการพัฒนาชุมชน

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.