การพัฒนารูปแบบเศรษฐกิจแบบองค์รวมของพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบ ตำบลปงยางคกอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • Nuttanit Ruccatiwong -
  • Net Jaiteung
  • Paweena Ngamprapasom มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

คำสำคัญ:

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, เศรษฐกิจแบบองค์รวม

บทคัดย่อ

           การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อสร้างทีมปฏิบัติการงานวิจัยชุมชนตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 2) เพื่อพัฒนารูปแบบเศรษฐกิจแบบองค์รวมของพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบ ตำบลปงยางคก
อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 3) เพื่อประเมินผลการพัฒนารูปแบบเศรษฐกิจแบบองค์รวมของพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบ ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง และเป็นพื้นที่ตัวอย่างให้กับเกษตรกร
ผลการวิจัยพบว่า 1) สามารถสร้างทีมปฏิบัติการงานวิจัยชุมชน จำนวน 20 คน เป็นแกนนำในการร่วมขับเคลื่อนงาน 2) พื้นที่เรียนรู้ต้นแบบ ได้พัฒนารูปแบบเศรษฐกิจแบบองค์รวมโดยใช้ทรัพยากรท้องถิ่น
ลดการพึ่งพาสารเคมี และส่งเสริมความยั่งยืนในชุมชนผ่านการมีส่วนร่วมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3) ผลการประเมินพบว่า การน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรับใช้ภูมิปัญญา และกระบวนการมีส่วนร่วม ช่วยสร้าง
การรับรู้แก่ผู้นำชุมชนและเกษตรกรในพื้นที่ด้วยการวิเคราะห์ดินนำไปสู่ลดต้นทุนการผลิตในระยะยาว
โดยต้องเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันจากการปฏิบัติจริง

คำสำคัญ: เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน, ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, เศรษฐกิจแบบองค์รวม

Author Biographies

Net Jaiteung

ปราชญ์เกษตรแห่งแผ่นดิน

Paweena Ngamprapasom, มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

ผศ., อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

References

กรมพัฒนาที่ดิน กลุ่มวิจัยเคมีดิน. (2563). ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (PH) คืออะไร.

สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน.

กรมการพัฒนาชุมชน. (2564). แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2565) ของกรมการพัฒนาชุมชน.

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย.

กรมราชเลขานุการในพระองค์ สำนักพระราชวัง. (2565). พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในโอกาสที่

คณะบุคคลต่าง ๆ เข้าเฝ้า ฯ ถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา

พุทธศักราช 2511 - 2520. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

กรมวิชาการเกษตร. (2562). การผลิตพืชอินทรีย์. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กองการต่างประเทศ. (2566). เอกสารรายงานแผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

(Sustainable Development Goals: SDGs) ระดับจังหวัดประจำปีงบประมาณ

พ.ศ. 2566. กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.

กรมส่งเสริมการเกษตร.(2567). การจัดการดินอย่างยั่งยืน (Sustainable Soil Management : SSM).

ข่าวสารวิชาการ กอป, 8(1), 1.

คณะกรรมการบริหารอำเภอแบบบูรณาการ อำเภอห้างฉัตร. (2565). แผนพัฒนาอำเภอ 5 ปี

(พ.ศ. 2566-2570) อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง. คณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ. คณะกรรมการเศรษฐกิจพอเพียงและลดความเหลื่อมล้ำ หอการค้าไทย. (2565). คู่มือตัวชี้วัดผลลัพธ์

การพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนด้วยการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (พิมพ์ครั้งที่ 1).

ห้างหุ้นส่วนจำกัด ซึ.เอ็ม.เอส พิมพ์ดิจิตอล.

ปมณฑ์ สุภาพักตร์, วีระ วงศ์สรรค์ และสุธิดา หอวัฒนกุล. (2562). การพัฒนาคุณลักษณะผู้นำ

เยาวชนด้านเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(2), 165-175.

ภัทร จองถวัลย์, เฉลิมพล จตุพร และ อภิญญา วนเศรษฐ. (2563). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง

การเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืนของกลุ่มประเทศอาเซียน.

Journal of Modern Learning Development, 6(1), 118 -129.

ศิวพร ละม้ายนิล,ฐาศุกร์ จันประเสริฐ,จารุวรรณ ขำเพชร และอภิชาติ ใจอารีย์. (2562).

การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพนักวิจัยชุมชน: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.

วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 25(2), 171-191.

สกาวรัตน์ บุญวรรโณ, เกษตรชัย และหีม และบัณฑิตา ฮันท์. (2563). ย้อนอดีต มองปัจจุบัน

กำหนดอนาคต: ทิศทางการจัดการท่องเที่ยวเมืองเก่าตะกั่วป่า ผ่านการมีส่วนร่วม

ของชุมชน.วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ,

(2). 127-139.

สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2566). คู่มือองค์ความรู้ BCG. หน่วยปฏิบัติการวิจัย

เพื่อการขับเคลื่อน BCG สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายันต์ ไพรชาญจิตร์. (2548) กระบวนการโบราณคดีชุมชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม

เพื่อเสริมสร้างความสามารถของชุมชนท้องถิ่น ในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมในจังหวัดน่าน.

ภาควิชาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์:กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ โครงการเพื่อการพัฒนา

แห่งสหประชาชาติ (UNDP). (2566). คู่มือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับบริษัท

จดทะเบียนไทย. United Nations Development Programme Thailand.

สำนักงานจังหวัดลำปาง. (2566). แผนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จังหวัดลำปาง. สำนักงานจังหวัดลำปาง

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด.

สำนักงานพัฒนาชุมชนห้างฉัตร. (2567). รายงานข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ประจำปี 2567.

สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2563). ข้อเสนอในการ ขับเคลื่อน BCG in Action

สาขาเกษตร. สำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2565).

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570). ราชกิจจานุเบกษา.

Daly, H. E., & Cobb, J. B. (1994). For the Common Good: Redirecting the Economy Toward

Community, the Environment, and a Sustainable Future. Beacon Press.

FAO. (2023). Asia and the Pacific – Regional Overview of Food Security and Nutrition

: Statistics and trends. Bangkok, FAO.

FAO. (2024). Production practices to increase yield, quality and safety of fruits

and vegetables. Rome.

FAO. (2023). The State of Food and Agriculture 2023. Revealing the true cost of

food to transform agrifood systems. Rome.

McIntyre, A. (2008). Participatory Action Research. Thousand Oaks, CA: SAGE Publications.

Patton, M. Q. (2008). Utilization-Focused Evaluation. SAGE Publications.

Raworth, K. (2017). Doughnut Economics: Seven Ways to Think Like a 21st-Century

Economist.Chelsea Green Publishing.

Rossi, P. H., Lipsey, M. W., & Freeman, H. E. (2004). Evaluation: A Systematic Approach.

SAGE Publications.

Sachs, J. D. (2015). The Age of Sustainable Development.Columbia University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-31