กลวิธีและการสื่อภาษาของพระพุทธศาสนานิกายเซน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มุ่งวิเคราะห์กลวิธีและการสื่อภาษาของพระพุทธศาสนานิกายเซน มี เป้าหมายเพื่อสละการยึดติดในคัมภีร์ คำสอนหรือการติดยึดในตัวบุคคลรวมทั้งอาจารย์ของตนเอง โดย เน้นจากการฝึกฝน คิดไตร่ตรองด้วยตนเอง ในขณะเดียวกันพระพุทธศาสนานิกายเซน เห็นว่าการใช้ ภาษาเป็นสิ่งกีดขวาง กำแพงกั้นไม่ให้รู้แจ้งความจริงและทำให้แยกสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นสองส่วนหรือทวินิยม ซึ่งอาจเป็นการลดทอนหรือทำลายความจริงไปด้วย และยังทำให้ละเลยต่อการเฝ้าดูจิตใจของตน พระพุทธศาสนานิกายเซน จึงอยากให้พิจารณาถึงสิ่งต่าง ๆ ดั่งที่มันเป็นหรือเรียกว่า “ตถตา” จนกระทั่งเข้าใจสิ่งทั้งหลายต่างเป็นอยู่ ดำรงอยู่และดำเนินไปอย่างว่างเปล่า คือว่างจากการยึดติดภาวะตัวตนที่เป็นภาพเงาที่เกิดจากความคิดซึ่งมีพื้นฐานจากความหลงหรืออวิชชา
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
จูดิธ แบล็คสโตน และซอแรน โจสิโพวิค. เซนสําหรับผู้เริ่ม(ต้น)เซน ฉบับการ์ตูน. แปลโดย โกมุที ปวัตนา. กรุงเทพมหานคร: เจริญวิทย์การพิมพ์, 2532.
พระครูปริยัติคณานุรักษ์ (พงษสันติ์ ศรีสมงาม). “การศึกษาเปรียบเทียบบารมีในพระพุทธศาสนา
เถรวาทและมหายาน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2552.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). พุทธวิธีในการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์สวย จํากัด, 2556.
พระพรหมบัณฑิต. พระไตรปิฎกฉบับสากล วิถีธรรมจากพุทธปัญญา. พระนครศรีอยุธยา:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2561.
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร. ภาษากับการตีความในพระพุทธศาสนา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=&co&articlegroup_id=906 [5 มีนาคม 2564].
พระศรีคัมภีรญาณ. พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2556.
พุทธทาสภิกขุ. สูตรเว่ยหล่าง. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จํากัด, 2543.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
วินทร์ เลียววาริณ. มังกรเซน. กรุงเทพมหานคร: ไทยยูเนียน กราฟฟิกส์, 2552.
สมภาร พรมทา. กวีนิพนธ์เรียวกัน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สารมวลชน จำกัด, 2534.
_________. พุทธศาสนานิกายเซน การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
_________. พุทธศาสนามหายาน นิกายหลัก. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
สุมาลี มหณรงค์ชัย. พุทธศาสนามหายาน ฉบับปรับปรุงแก้ไข. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์สยาม, 2550.
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสตร์. พระพุทธศาสนามหายาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2539.