วิเคราะห์คัมภีร์กัจจายนะ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง คัมภีร์กัจจายนะ: การแปล และ การวิเคราะห์กล่าวคือ คัมภีร์กัจจายนะ เป็นคัมภีร์อธิบายขยายความไวยากรณ์ พระวิชิตาวีเถระเป็นผู้ แต่งขณะพำนักอยู่วัดอภยศิริ แต่งอธิบายไวยากรณ์ใน 6 หัวข้อคือ ตอนว่าด้วยสนธิกัป ตอนว่าด้วย นามกัป ตอนว่าด้วยอาขยาตกัป ตอนว่าด้วยกิพพิธานกัป ตอนว่าด้วยอุณาทิกัป และตอนว่าด้วยนิคม คาถา มีลักษณะการประพันธ์แบบร้อยแก้ว คือ การดำเนินเรื่องแบบธรรมดา และแบบร้อยกรอง คือ การดำเนินเรื่องในรูปแบบคาถา ท่านได้แต่งคัมภีร์โดยใช้นามศัพท์ ใช้กิริยาศัพท์ และใช้อัพพยศัพท์ได้ อย่างถูกต้องตามหลักภาษาและหลักไวยากรณ์
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร นวังคสัตถุสาสน์ปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
__________ . พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๓๕.
__________ . อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺกถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย. โรงพิมพ์วิญญาณ. ๒๕๓๒-๒๕๓๔.
https://books.google.co.th/books/about [๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๗].
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยรายวันการพิมพ์. ๒๕๕๒.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์. ๒๕๕๙.
กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ่นส่วนจำกัด ไทยรายวันการพิมพ์. ๒๕๓๑.
คณะ ๒๕. ๒๕๕๐.
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วรรณคดีบาลี (Pali Literature).
ไทยรายวันการพิมพ์. ๒๕๔๖). หน้า ๑๔.
บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชซิง จำกัด (มหาชน). ๒๕๖๓.
พระคันธสาราภิวงศ์ (แปลและอธิบาย). สุโพธาลังการมัญชรี. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด
พระเทพปริยัติโมลี (ทองดี สุรเตโช). หลักการแต่งฉันท์ภาษามคธ ป.ธ. ๘. กรุงเทพมหานคร:
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์.พิมพ์ครั้งที่ ๒๘.
พระมหาธีระยุทธ เขมธมฺโม (ปราชญ์นิวัฒน์). ประวัติคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร:
พระมหาสมปอง มุทิโต. คัมภีร์อภิธานวรรณนา. กรุงเทพมหานคร: ชมรมนิรุตติศึกษา วัดมหาธาตุ
พระวิชิตาวีเถระ รจนา. พระมหานิมิต ธมฺมสาโร ป.ธ. ๙ และคณะปริวรรต. กัจจายนวัณณนา.
พลเรือตรีทองย้อย แสงสินชัย. บาลีวันละคำ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม. ๒๕๐๖.
มหามกุฎราชวิทยาลัย. ๒๕๔๑.
ราชวิทยาลัย.๒๕๓๒.
โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.๒๕๕๘.
โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.๒๕๕๘). หน้า ๓๘–๔๐.
โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง. ๒๕๓๒.
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสมหาเถระ). พระคัมภีร์กัจจายนมูล. กรุงเทพมหานคร:
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙). ประวัติคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร:
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ นาม และ
เสนาะ ผดุงฉัตร. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณคดีบาลี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ
อัพยยศัพท์ หลักสูตรเปรียญธรรมตรี. พิมพ์ครั้งที่ ๓๖. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์