บุญ หรือ บาป : การศึกษาหลักการและแนวคิดในการปล่อยสัตว์น้ำ ด้วยความรับผิดชอบตามบริบทสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • นายธเนศ เกษศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

บุญ, บาป, การปล่อยสัตว์น้ำ, ความรับผิดชอบ, บริบทของสังคมไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์เรื่องปล่อยสัตว์น้ำอย่างไรให้ได้บุญ : หลักการและแนวคิดในการปล่อยสัตว์น้ำตามบริบทของสังคมไทยโดยมีการพัฒนาต่อยอดจากบทความวิชาการเรื่องแนวทางในการปล่อยสัตว์น้ำตามบริบทของสังคมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “หลักการและแนวคิดในการปล่อยสัตว์น้ำด้วยความรับผิดชอบตามบริบทของสังคมไทย” พบว่า การปล่อยสัตว์น้ำเพื่อทำบุญตามบริบทของสังคมไทยไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่าเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยใดแต่มีความเชื่อกันว่าได้รับอิทธิพลมาจากการเผยแพร่ของพระพุทธศาสนาและแนวคิดของพราหมณ์เมื่อครั้งที่ได้แผ่เข้ามาสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยพุทธศาสนิกชนมีความเชื่อว่าถ้าทำบุญด้วยการปล่อยสัตว์น้ำแล้วจะได้รับอานิสงส์ทำให้เกิดความสุขทั้งทางกายและทางใจถือว่าเป็นการสะเดาะเคราะห์ต่อชะตาให้กับผู้ที่กำลังมีความทุกข์หรือตกอยู่ในสภาวะยากลำบากต่อการดำรงชีวิตสำหรับแนวคิดและหลักการปล่อยสัตว์น้ำเพื่อทำบุญตามบริบทของสังคมไทยด้วยความรับผิดชอบนั้นมาจากฐานแนวคิดหลัก 4 ประการคือ 1) แนวคิดเกี่ยวกับการปล่อยสัตว์น้ำเพื่อทำบุญสร้างกุศลตามบริบทของสังคมไทย 2) แนวคิดเกี่ยวกับการปล่อยสัตว์น้ำในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมด้วยความรับผิดชอบ 3) แนวคิดเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของสัตว์น้ำและแหล่งที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมของสัตว์น้ำที่คนไทยชาวพุทธนิยมปล่อย และ 4) แนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อในการปล่อยสัตว์น้ำตามบริบทของสังคมไทยที่ส่งผลต่ออาสงส์ที่ได้รับ

References

กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศษสตร์. [ออนไลน์]. การเพาะเลี้ยงปลาบู่. แหล่งที่มา: http://eto.ku.ac.th/neweto/e-book/fish/pla_bu.pdf [21 ตุลาคม 2565].

กองส่งเสริมการประมง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกร์. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงตะพาบน้ำพันธุ์ไต้หวัน. ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เกษตรกรก้าวหน้า. (2559). สารพัดวิธีการเลี้ยงกบสร้างรายได้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทแม่บ้านจำกัด,

งานศีกษาและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการประมง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร. (2555). คู่มือที่ 11 การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์. บริษัท มูฟเม้นท์ เจนทรี จำกัด.

ธเนศ เกษศิลป์. (2566). “ปล่อยสัตว์น้ำอย่างไรให้ได้บุญ : หลักการและแนวคิดในการปล่อยสัตว์น้ำตามบริบทของสังคมไทย”. สารนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

นฤชยา ไกรเนต. (2553). การเพาะเลี้ยงปลานิล. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด สถาบันวิจัยและพัฒนาพันธุกรรมสัตว์น้ำ. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

บันเทิง พาพิจิตร. (2549). ประเพณีวัฒนธรรมไทยและคติความเชื่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.

บุญส่ง ศรีเจริญธรรม. (2563). หลักเกณฑ์และขั้นตอนการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำเพื่อการจัดการประมงอย่างเหมาะสมและมีความรับผิดชอบ. ราชการบริหารส่วนกลาง กรมประมง กระรวงเกษตรและสหกรณ์.

ปกรณ์ อุ่นประเสริฐ. (ม.ป.ป.). การเลี้ยงปลาตะเพียนขาว. กองส่งเสริมการประมง กรมประมง. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปรียาภรณ์ เชวงชินวงศ์ และรัชนีบูลย์ ทิพย์เนตร. (2549). การเพาะเลี้ยงปลาสวาย. กรุงทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.

พระมหาสาม อคฺคธมฺโม (แสงวงค์). (2562). การศึกษาวิเคราะห์ความมีอยู่ของบาปในพุทธปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 13. นครปฐม: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มนตรี แสนสุข. (2558). ปลาหมอไทยแปลงเพศ เลี้ยงง่าย โตไว รวยเร็ว. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นานาสำนักพิมพ์ ในเครือบริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำกัด.

________. (2559). ปลาไหลนา เลี้ยงเสริมรายได้ อนาคตดี มีสิทธิ์รวย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นานาสำนักพิมพ์ในเครือบริษัท ยิปซี กรุ๊ป จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

รองศาสตราจารย์พูนทรัพย์ เกตุวีระพงศ์, ดร.สมจิต ขอนวงค์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระวีโรจน์ ศรีคำภา, พระศักดิ์ดา สุวรรณทา. (2557). สืบชะตาล้านนา: แนวคิดและการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ทางสังคมและจิตวิญญาณของชุมชนในล้านนา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่.

วศิน อินทสระ. (2552). วิธีสร้างความดีและความมีเงื่อนไขของกรรม. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดา.

________. (2552). วิธีสร้างความดีและความมีเงื่อนไขของกรรม. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดา.

________. (2554). หลักกรรมและการเวียนว่ายตายเกิด. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมดา.

________. (2548). การทำบุญให้ทาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

สุจินต์ โรจนพิทักษ์. (2549). ปลาช่อน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เกษตรสยาม.

สุเชาว์ พลอยชุม. (2555). สารัตถวิชาการพุทธปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2559). เพื่อความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับหลักกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สยามปริทัศน์.

หน่วยสัตว์เลี้ยงชนิดพิเศษ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [ออนไลน์]. ข้อควรปฏิบัติเมื่อจะปล่อยเต่าที่วัด. แหล่งที่มา: http://vet.ku.ac.th/vv2018/index.php/ar/health-topics/231-health-topics-7 [15 ธันวาคม 2565].

อภิชาต ศรีสะอาด, พัชรี สำโรงเย็น. (2561). หอยทำเงิน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นาคา อินเตอร์มีเดีย.

อุดม เชยกีวงศ์. (2545). ประเพณีกรรมท้องถิ่นไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ สุขภาพใจ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-30

How to Cite

นายธเนศ เกษศิลป์. (2023). บุญ หรือ บาป : การศึกษาหลักการและแนวคิดในการปล่อยสัตว์น้ำ ด้วยความรับผิดชอบตามบริบทสังคมไทย. วารสารพุทธศาสน์สังคมร่วมสมัย, 2(1), 35–46. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/JCBS/article/view/1748