เกสปุตตสูตร : ปรัชญาว่าด้วยเส้นทางสู่ที่สุดแห่งการแสวงหาของชีวิต
คำสำคัญ:
ที่สุดแห่งการแสวงหา, ความจริง, เชิงปรัชญาบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา "ที่สุดแห่งการแสวงหา" ความจริงในเชิงทางปรัชญา จากการศึกษา พบว่า ที่สุดแห่งการแสวงหาความจริงในเชิงทางปรัชญามี 2 วิธีใหญ่ๆ คือ (1) การแสวงหาความจริงทางประสาทสัมผัสหรือทางประสบการณ์ ซึ่งทางปรัชญาเรียกว่า การแสวงหาความจริงแบบวิธีอุปนัย ซึ่งเป็นวิธีการหาความรู้ของกลุ่มวัตถุนิยม (2) ที่สุดแห่งการแสวงหาความจริงทางเหตุผล ซึ่งทางปรัชญาเรียกว่า การแสวงหาความจริงแบบนิรนัย คือ เป็นวิธีการแสวงหาความจริงของกลุ่มจิตนิยม
ที่สุดแห่งการแสวงหาความจริงในเชิงปรัชญาที่ปรากฏในเกสปุตตสูตร (กาลามสูตร) ได้แก่ การแสวงหาความจริง 10 ประการ หลังจากนั้นค่อยใช้วิจารณญาณอย่างถี่ถ้วนแล้วจึงเชื่อกระบวนที่สุดแห่งการแสวงหาความจริงในเชิงปรัชญาที่ปรากฏในเกสปตตสูตร มี 2 กระบวนการ คือ (1) กระบวนการแสวงหาความจริงตามหลักประสบการณ์ได้แก่ การใช้อายตนะภายใน และภายนอก ทางปรัชญาเรียกว่า การแสวงหาความจริงแบบอุปนัย ในเกสปุตตสูตร ได้แก่ ข้อที่ 1-4 และ (2) การแสวงหาความจริงตามหลักเหตุผล คือ ทางปรัชญาเรียกว่า แบบนิรนัยของกลุ่มจิตนิยม ในเกสปุตสูตร ได้แก่ ข้อที่ 5-10 ส่วนที่สุดแห่งการแสวงหาความจริงแบบเกสปุตตสูตร เป็นการใช้ทั้งวิธีการของอุปนัย คือ การใช้ปรโตโฆษะ และนิรนัย คือ การใช้โยนิโสมนสิการ พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วจึงเชื่อ
References
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2541). ปรัชญาประยุกต์ชุดอินเดีย. กรุงเทมหานคร: เกษมมบรรณกิจ.
ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2540). "ทฤษฎีความเป็นจริงในพุทธปรัชญาเถรวาท". วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญมี แท่นแก้ว. (2543). ปรัชญากับศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิณฑิตยสถาน พ.ศ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานกรมศัพท์พท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตโต). (2552). ปรัชญากรึก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศยาม.
พระมหาบุญไทย ด้วงวงศ์. (2540). "การใช้เหตุผลทางตรรกะในพระไตรปิฎก". วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2542). พุทธปรัชญา : มนุษย์สังคม และปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสาวนีย์ พงศกรเสถียร. (2557). "การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องญาณวิทยาในธัมมปทัฏฐกถา". วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาปรัชญา. บัณฑิณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณรวิทยาลัย.
เอกวุฒิ บุตรโคษา. (2553). "การศึกษาเรืองประโยชน์นิยมในพุทธปรัชญาเถรวาท". สารนิพนธ์ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย.
Del Kiernan-Lewis. (2000). Learning to Philosophize a Primer. Belmont: Wadsworth.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารพุทธศาสน์สังคมร่วมสมัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.