วิเคราะห์ต้นแบบผู้นำสตรีในพระพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
ผู้นำสตรี, ต้นแบบ, พระพุทธศาสนาบทคัดย่อ
การศึกษาวิเคราะห์วิเคราะห์ต้นแบบผู้นำสตรีในพระพุทธศาสนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาบทบาทสตรีในพระพุทธศาสนาสมัยพุทธกาล และเพื่อวิเคราะห์ต้นแบบผู้นำสตรีในพระพทธศาสนา โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์วิเศษ รวมถึงเอกสารทางพุทธศาสนาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัยพบว่า
สตรีในพระพุทธศาสนาสมัยพุทธกาล มีบทบาทในการ บทบาทเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาหลายคนด้วยกัน เช่น นางก็สาบดีโคตรมี ที่เป็นผู้นำในการขอบวชเป็นภิกษุณี บทบาทของนางสุชาดาในการถวายข้าวมธุปายาสให้กับเจ้าชายสิทธัตถะขณะบำเพ็ญเพียรเพื่อตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า บทบาทของนางวิสาขา
ในการอุปถัมภ์ ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลจนได้รับฉายาว่า "มหาอุบาสิกา" ส่วนต้นแบบผู้นำสตรีในพระพุทธศาสนานั้น พบว่า สตรีที่เป็นผู้นำนั้นแบ่งเป็น 2 มิติด้วยกันคือ 1) มิติ ในการธำรงรักษาพระพุทธศาสนา มีสตรีจำนวนมากที่เป็นผู้นำทางศาสนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในประเทศไทยนั้นผู้ที่มีบทบาทในมิติธำรงรักษาพระพุทธศาสนานั้น มี 2 ท่านคือแม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต ผู้ก่อตั้งเสถียรธรรมสถาน เป็นสตรีต้นแบบในการธำรงรักษาพระธรรมคำสององค์สมเด็ยพระสัมมาสัมพุทะเจ้า และอีกท่านหนึ่งคือ ดร.อุไรศรี คนึงสุขเกษม ผู้ที่ให้ความอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาตลอดมา 2) มิติการเป็นผู้นำทางความคิด พบว่า ผู้นำทางความคิดนั้นแบ่งเป็น 4 ด้วยกันคือ 1) ผู้นำสตรีทางด้านการเมือง 2) ผู้นำประเทศที่เป็นสตรี 3) ผู้นำสตรีท้างด้านธุรกิจ และ 4) สตรีที่ทรงอิทธิพลที่สุดในโลก
References
Chanthafong, C. (2022). "The Role of Women Political Leaders in Northeastern Thailand".
Journal of Political Science Mahamakut Buddhist University. Vol. 2 No. 5
(September-October): 74-87.
GreatDay HR. Women's Leadership: The Role of Women as Leaders. [Online], Available at:
https://greatdayhr.com/th-th/blog/womens-role-in-leadership/[23 JAN 2022].
Pannitamai, W. (2001). Developing a Leaming Orgonization, 3rd Edition. Bangkok: Expert Net
Co., Ltd.
Prasertsri, R. (2001). Leadership. Banqkok: Thanathat Printing.
Pukkapan, P. (2001). Leadership and Motivation. Bangkok: Chulalongkorn Products Press.
Saengwattanaruek, C. (2020). "The Role of Female Volunteer Leaders in Buddhist-Integrated
Approaches". Journal of MCU Peace Studies. Vol. 8 No. 4 (July-August): 1622-1638.
Sararatana, W. (2014). Leadership: Theories and Contemporary Perspectives. Bangkok:
Thipyasuth.
Satchawattana, K. (2016). "The Role of Successful Female Leaders in Dan Khun Thot District,
Nakhon Ratchasima Province". Moster's Thesis in Social Business and Polical
Leadership. Graduate School: Rangsit University.
Wajeeviit, C. (2007). "The Status of Thai Buddhist Women in Contemporary Thai Society".
Master's Thesis. Graduate School: Mahidol University.
Wongwetch, S. (2019). "Progressive Thai Women's Rights as Depicted in Thai Novels". Chiong
Mai Rajabhat University Journal of Social Sciences. Vol. 1 No. 1 (Jany - June):
-45.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารพุทธศาสน์สังคมร่วมสมัย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.