การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองและความคิดสร้างสรรค์ในนิสิตกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • กันตพัฒน์ อนุศักดิ์เสถียร Naresuan University
  • ญานิกา คำแก้ว Naresuan University
  • ฉัฐชนก เดชรักษา Naresuan University
  • ศศิธร วังสุวรรณ Naresuan University
  • พรนภัส จารุสาร Naresuan University
  • วิวรรณ อริยพรพรหม Naresuan University
  • วนมารินทร์ แดงทองดี Naresuan University
  • แสงดาว วัฒนาสกุลเกียรติ Naresuan University
  • นิรันดร์ เงินแย้ม Naresuan University

คำสำคัญ:

การเห็นคุณค่าในตนเอง, ความคิดสร้างสรรค์, นิสิตกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้สำรวจระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและความคิดสร้างสรรค์ของนิสิตคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเก็บข้อมูลจากนิสิตระดับปริญญาตรีจำนวน 407 คนผ่านแบบประเมิน Rosenberg Self-esteem (10 ข้อ) และแบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ (24 ข้อ) พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (74%) ศึกษาชั้นปีที่ 3 (37.10%) ในคณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร (31.20%) มีเกรดเฉลี่ย 3.01-3.50 (35.60%) และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 4,001-6,000 บาท (46.70%) ผลการวิจัยพบว่า นิสิตส่วนใหญ่มีการเห็นคุณค่าในตนเองระดับมาก (Mean = 28.64, S.D. = 4.55) และมีความคิดสร้างสรรค์ระดับปานกลาง (Mean = 76.12, S.D. = 16.36) โดยปัจจัยเพศ ชั้นปี เกรดเฉลี่ย และรายได้ไม่ส่งผลต่อความแตกต่างด้านการเห็นคุณค่าในตนเองและความคิดสร้างสรรค์ แต่พบว่าคณะที่ต่างกันมีการเห็นคุณค่าในตนเองต่างกัน และเพศที่ต่างกันมีความคิดสร้างสรรค์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นอกจากนี้ การเห็นคุณค่าในตนเองและความคิดสร้างสรรค์มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำ (r = 0.361) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขานวัตกรรมและการตลาดเชิงสร้างสรรค์. (2567 ตุลาคม 20). 170. แหล่งที่มา https://www.acad.nu.ac.th/course/course.php?levelid=1&facultyid=218&courseid=162&programid=11318140063

ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์. 2567 ตุลาคม 20. 1.

http://www.nana-bio.com/Research/image%20research/research%20work/ceative%20thinking/creative%20thinking03.html

คาลอส บุญสุภา, มฤษฎ์ แก้วจินดา, วรางคณา โสมะนันท์. (2021). การเห็นคุณค่าในตนเองของนิสิตในมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. วารสารเกษมบัณฑิต. 22(2), 43-53.

จีรทัช ใจจริง, ธนิต โตอดิเทพย์, ภารดี อนันต์นาวี และคณะ. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการปัจจัยที่ส่งผลต่อความสุขในการเรียนของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะมนุษยศาสตร์และสังศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 28(1), 29-47.

ชฎารัตน์ เฮงษฎีกุล. (2566). ความคิดสร้างสรรค์ เกิดขึ้นเองหรือพัฒนาได้. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 13(2), 122-130.

ชมพูนุท เมฆเมืองทอง. (2564). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาสาขาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารด้วยเทคนิคอินโฟกราฟิกโมเดล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 16(3), 95-106.

ฐานนท์ มณีนิล, ชลธิชา สุรัตนสัญญา, คเณศ รัตนวิไลและคณะ. (2561). การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคใน การเรียนของนักศึกษาปีที่ 1 หลักสูตรนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. (20 - 21 สิงหาคม 2561). มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ม.ป.ท. 623-631.

ณัฐกานต์ ภูมิคอนสาร. (2565). ทักษะความคิดสร้างสรรค์ที่หล่นหายไปของผู้เรียนกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21. Education journal. 5(1), 1-9.

ธัญญภัสร์ ศิรธัชนราโรจน์, สกล วรเจริญศรี และปริญญา มีสุข. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ของความภาคภูมิใจในตนเองและความหยุ่นตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสาร Veridian E-Journal,Silpakorn University. 9(2), 715-732.

มนทกานต์ เมฆรา. (2564). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ทางจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างทักษะ การแก้

ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2567 ตุลาคม 20. พันธกิจ เป้าหมาย อำนาจหน้าที่. 1. แหล่งที่มา https://www.nu.ac.th/?page_id=9023

มาลิณี จุโฑปะมา. (2553). การเห็นคุณค่าในตนเองนั้นสำคัญไฉน และจะสร้างได้อย่างไร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 2(2), 13-16.

สุธนี ลิกขะไชย. (2555). ผลการใช้โปรแกรมต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนลอยสาย. ม.ป.ท: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุธีรา งามเกียรติทรัพย์. (2021). การสร้างบรรยากาศในการเรียนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์. วารสาร นิตยสารเสียงธรรมจากมหายาน. 7(1), 23-34.

สมิทธิ์ เจือจินดา และ วรรณนภา โพธิ์ผลิ. (2019). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการเห็นคุณค่าของตนเองสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร. ม.ป.ท. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

สิริชัย ดีเลิศ. (2558). การพัฒนาความคิดสรางสรรคของบัณฑิตในสถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษาที่มีอัตลักษณ์เชิงสร้างสรรค์. ม.ป.ท. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อชิร. (2567 ตุลาคม 20). ความภาคภูมิใจในตนเอง. 1. แหล่งที่มา https://library.dmh.go.th/yuwa/library.indexphotonews/view.php?id=453&cate=news

อลิสา สำรองและ สมรรถพงศ์ ขจรมณี. (2021). การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความคิดสร้างสรรค์แบบนวัตกรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งหนึ่ง. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 4(3), 1-15.

เอกฉัตร วิทยอภิบาลกุล, ฐานนท์ มณีนิล, ชลธิชา สุรัตนสัญญา, และคณะ. (2561). การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคใน การเรียนของนักศึกษาปีที่ 1 หลักสูตรนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 20 - 21 สิงหาคม 2561. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. ม.ป.ท. 1-10.

Priyanka Singh. (2023). A study on self-concept development and relationship with self-esteem and creativity . Section A-Research paper, 12(5), 931-931.

Rashid Jabbarov, Mushviq Mustafayev, Jeyhun Aliyev et al. (2023). Psychological issues of the relationship between self-esteem and aggression in students studying in different faculties. RevistaGestão eSecretariado (GeSec)., 14(10), 17236-17253.

S. Brockhus, T. E. C. van der Kolk, B. Koeman et al. (2014). The influence of creative self-efficacy on creative performance. Human behaviour and design, 437-444. https://www.designsociety.org/publication/35188/THE+INFLUENCE+OF+CREATIVE+SELF-EFFICACY+ON+CREATIVE+PERFORMANCE

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-06-30

How to Cite

อนุศักดิ์เสถียร ก. ., คำแก้ว ญ. ., เดชรักษา ฉ. ., วังสุวรรณ ศ. ., จารุสาร พ. ., อริยพรพรหม ว. ., แดงทองดี ว. ., วัฒนาสกุลเกียรติ แ. ., & เงินแย้ม น. . (2025). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเองและความคิดสร้างสรรค์ในนิสิตกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารสมาคมจิตวิทยาแนะแนวแห่งประเทศไทย (Online), 2(1), 1–14. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/GPAT/article/view/1106