พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์

ผู้แต่ง

  • พระใบฎีกาอุทัย สุจิณฺโณ (พิทักษ์หงส์สกุล) วัดลาดปลาเค้า จังหวัดสุพรรณบุรี

บทคัดย่อ

พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ หนังสือที่อธิบายเรื่องศาสนากับวิทยาศาสตร์ พุทธ ศาสนาและวิทยาศาสตร์ ยอมรับในธรรมชาติและกฎของธรรมชาติ วิทยาศาสตร์มีความคิดที่จะพิชิตธรรมชาติ และความเชื่อว่า ความสุขของมนุษย์อยู่ที่การมีวัตถุบำเรอตนเอง ส่วนพระพุทธศาสนา ไม่ได้มองเฉพาะโลก วัตถุภายนอกเท่านั้น แต่เป็นผู้พิสูจน์ความจริงโลกภายนอกด้วยอินทรีย์ทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น กาย สู่พัฒนาการ ทางจิตและปัญญาของมนุษย์ พระพุทธศาสนาใช้ประสบการณ์ตรงทางอินทรีย์ทั้ง 6 สิ่งที่รับรู้ด้วยตาก็ต้องใช้ ตา สิ่งที่รับรู้ด้วนลิ้นก็ต้องใช้ลิ้น สิ่งที่รับรู้ด้วยหูก็ต้องใช้หู วิทยาศาสตร์ต้องการเรียนรู้กฎธรรมชาติและหาทาง ควบคุมธรรมชาติ หรือเอาชนะธรรมชาติ วิทยาศาสตร์เน้นการควบคุมธรรมชาติภายนอกมุ่งแก้ปัญหาภายนอก ไม่ได้แสวงหาความสุขภายในเหมือนทางพระพุทธศาสนา

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2556). พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่

กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สม สุจีรา. (2551). ไอน์สไตน์พบ พระพุทธเจ้าเห็น. พิมพ์ครั้งที่ 50. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรินทร์พริ้น

ติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30

How to Cite

วัดลาดปลาเค้า จังหวัดสุพรรณบุรี พ. ส. (พิทักษ์หงส์สกุล). (2022). พุทธศาสนาในฐานะเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์. วารสารพุทธศาสน์สังคมร่วมสมัย, 1(2), 55–64. สืบค้น จาก https://so11.tci-thaijo.org/index.php/JCBS/article/view/1743