การสวดมนต์ : คุณค่าเชิงจิตวิทยามากกว่าที่คุณคิด
คำสำคัญ:
การสวดมนต์, คุณค่าเชิงจิตวิทยาบทคัดย่อ
การสวดมนต์ ในเชิงจิตวิทยานั้นถือได้ว่าเป็นการทำให้จิตใจเกิดความสงบ โดยใช้หลักการของคลื่นเสียงในการบำบัด เพื่อให้เกิดการผ่อนคลาย ซึ่งมีผลการศึกษาวิจัยว่าการสวดมนต์สามารถใช้เพื่อการเยียวยาและกระตุ้นให้ร่างกายของบุคคลหายหรือทุเลาจากความป่วยไข้ได้ การสวดมนต์จึงมีคุณค่าทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ อานิสงส์ของการสวดมนต์นั้น นอกเหนือจากที่มีต่อตัวผู้ปฏิบัติเองแล้ว ยังมีอานิสงส์ที่สามารถเผื่อแผ่ไปยังบุคคลรอบข้างได้ โดยบทสวดมนต์ของพุทธศาสนามีลักษณะที่สำคัญอยู่ 3 ลักษณะ คือ 1) สวดพระสูตร 2) สวดพระปริตร และ 3) สวดสัจกิริยา สำหรับรูปแบบของบทสวดมนต์มีอยู่ 2 แบบ คือ (1) บทสวดเป็นบท ๆ เป็นคำ ๆ เรียกว่า แบบปทภาณะ และ (2) บทสวดแบบใช้เสียงตามทำนองของบทประพันธ์ ฉันทลักษณ์ต่างๆ เรียกว่า สรภาณะ
References
ณรงค์ ฤทธิวาจา. (2555). สาระความรู้ใกล้ตัว: ผู้สูงวัย. จาก http://vgi–intra.vgi.co.th/vgi–intra/LinkWebpage/มุมนี้
ดีมีสาระ/Information/020512/K77– HB.pdf
ทรู ปลูกปัญญา. (2564). คุณประโยชน์ของการสวดมนต์ ไหว้พระทำสมาธิ. จาก
https://www.trueplookpanya.com/knowledge
ธวัชชัย กมลธรรม. (2560). สวดมนต์บำบัดแบบไทย รักษาใจ ไม่ต้องใช้ยา. จาก https://www.thaihealth.or.th/?
p=231365
_______ . (2566). คู่มือกิจกรรมสวดมนต์ เจริญสมาธิ และสนทนาธรรม. กรมควบคุมโรค
เบญมาศ ตระกูลงามเด่น, และสุรีพร ธนศิลป์. (2555). ผลของโปรแกรมการจัดการอาการที่เน้นการสวดมนต์ต่ออาการปวด
ของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย. วารสารสำนักการแพทย์ทางเลือก, 5(2), 30-42.
เบญญาภา กุลศิริไชย. (2556). "การลดภาวะซึมเศร้าในผู้ประสบภัยพิบัติด้วยการรับบทสวดโพชฌงคปริตรเข้าจิตใต้สำนึก",
วารสารบัณฑิตปริทรรศน์, ปีที่ 9 ฉบับ 3 (กันยายน–ธันวาคม 2556): 138-149.
พรทิพย์ ปุกหุต, และทิตยา พุฒิคามิน. (2555). ผลของการสวดมนต์บำบัดต่อความวิตกกังวลและความผาสุกทางจิตวิญญาณ
ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะรับการรักษา. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 30(2), 122-130.
พระวงศ์สรสิทธิ์ รติกโร. (2561). คุณค่าของการสวดมนต์ที่มีต่อพุทธศาสนิกชนไทย: กรณีศึกษาสำนักปู่สวรรค์. วารสาร
สังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 3(2), 89.
พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร, พุทธวรรณ ชูเชิด, สุจิตรา สุทธิพงศ์. (2557). การเปรียบเทียบผลการสวดมนต์และการฟังเสียงสวดมนต์ต่อ
ความเครียดและคุณภาพการนอนหลับของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2), 386-394.
วีรกร พงษ์วัน, ศรีสุภา ด้วงลา. (2559). ผลของการฟังบทสวดมนตร์ทำสมาธิต่อการผ่อนคลายผ่านการศึกษาการเปลี่ยนแปลง
ของ กิจกรรมทางประสาทด้วยเครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG. โครงงานทางจิตวิทยาหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย, กรุงเทพ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมจิตวิทยาแนะแนวแห่งประเทศไทย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สมาคมจิตวิทยาแนะแนวแห่งประเทศไทย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมจิตวิทยาแนะแนวแห่งประเทศไทย และบุคลากรท่านอื่น ๆ ใน สมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว